งานครั้งที่3
อิเล็กทรอนิคส์ แบ่งได้ 3วิธี
1. ขั้นเตรียมข้อมูล
เป็นการเตรียมข้อมูลเพื่อให้สะดวกต่อการประมวลผล ซึ่งมี 4 วิธี
1.1 การลงรหัส 1.2 การตรวจสอบ 1.3 การจาแนก 1.4 การบันทึกข้อมูลลงสื่อ
2. ขั้นตอนการประมวลผล
คือ เป็นการนาเอาโปรแกรมที่เขียนขึ้น มาใช้เพื่อประมวลผลข้อมูลที่ได้เตรียมไว้และข้อมูลยังคงเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นวิธีการผลิตสารสนเทศต่างๆ เช่น
2.1 การคำนวณ
2.2 การเรียงลาดับข้อมูล
2.3 การสรุป
2.4 การเปรียบเทียบ
3. ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์
เป็นขั้นตอนการเผยแพร่สารสนเทศให้กับผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ อาจอยู่ในรูปแบบเอกสาร รายงาน การนาเสนอบนจอภาพ โดยการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2 โครงสร้างข้อมูล
บิต(Bit) หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล เลขฐาน 2 คือ 0,1
ไบต์(Byte)การนาบิตมารวมกัน เรียกว่า ตัวอักขระ,ตัวอักษร
ฟิลด์(Field)การนาไบต์หลาย ๆ ไปมารวมกัน เรียกว่า เขตข้อมูล
เรคอร์ด (Record) การนาฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มารวมกัน •เรียกว่า ระเบียน
ไฟล์(File) การเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
ฐานข้อมูล (Database) การนาไฟล์หลาย ๆ ไฟล์มารวมกัน •เรียกว่า ฐานข้อมูล
3.หากนำเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้ในหน่วยงานที่นักศึกษาทำงานอยู่ สามารถมีแฟ้มข้อมูลใดบ้าง และระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์ต่อองค์กรอย่างไร
สถานที่ทำงาน Siam Chemical Logistics ตำแหน่ง พนักงานวางแผนการจัดส่ง
ข้อมูลการทำ Summary
ข้อมูลเอกสาร Turkbookning
ข้อมูลพนักงานขับรถ
ข้อมูลการขนส่ง
ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
1. รู้ข้อมูลของ Summary แต่ละวันได้งานมากขึ้นไม่ต้องเสียเวลาในการหาแต่ Job Invoice สะดวกมากขึ้น
2. เอกสาร Turkbookning ละเอียดมากขึ้นไม่เกิดข้อผิดพลาดเหมือนเราใช้โปรแกรม Excel คีย์ข้อมูลแต่ละ Job และสะดวกมากขึ้น
3. ข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อมูลพนักงานขับรถ, ข้อมูลการขนส่ง จะถูกแยกไฟล์โดยอัตโนมัตฺโดยที่เราไม่ต้องเสียเวลามาแยกข้อมูลต่าง ๆ เอง
สถานที่ทำงาน Siam Chemical Logistics ตำแหน่ง พนักงานวางแผนการจัดส่ง
ข้อมูลการทำ Summary
ข้อมูลเอกสาร Turkbookning
ข้อมูลพนักงานขับรถ
ข้อมูลการขนส่ง
ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
1. รู้ข้อมูลของ Summary แต่ละวันได้งานมากขึ้นไม่ต้องเสียเวลาในการหาแต่ Job Invoice สะดวกมากขึ้น
2. เอกสาร Turkbookning ละเอียดมากขึ้นไม่เกิดข้อผิดพลาดเหมือนเราใช้โปรแกรม Excel คีย์ข้อมูลแต่ละ Job และสะดวกมากขึ้น
3. ข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อมูลพนักงานขับรถ, ข้อมูลการขนส่ง จะถูกแยกไฟล์โดยอัตโนมัตฺโดยที่เราไม่ต้องเสียเวลามาแยกข้อมูลต่าง ๆ เอง
4 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing)
1 รวบรวมข้อมูล และแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ แล้วจึงส่งเครื่องคอมพิวเตอร์
2 ทำการประมวลผลครั้งเดียว
3 จะไม่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้งานกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์
วิธีการประมวลผลแบบเวลาจริง ( Real Time Processing )
1การประมวลผลที่เมื่อทาการส่งข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์แล้วจะได้ผลลัพธ์ออกมาทันที
2แสดงผลข้อมูลทันทีทันใด โดยแสดงผลทาง Output
3เช่น การใช้บริการบัตรเครดิตตามห้างร้านต่าง ๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น